บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
นวดแต่ละที่ไม่เหมือนกัน เรียกว่าสูตรใครก็สูตรมัน
อย่างแถวๆอิสานส่วนใหญ่จะผสมขมิ้นลงไป จึงมักมีสีเหลืองนวล
ทิ้งไว้นานจะขึ้นไขเล็กน้อย เนื้อแข็งแต่ลื่น
ถ้าเป็นนวดแบบโบราณที่เคยเจอจะกะทิลงไปด้วย
เนื้อจะเหนียวๆไม่แข็งแบบที่เคี่ยวด้วยน้ำมันล้วนๆ ส่วนนวดผสมมักเป็นสีขาวใส
เนื้อเหนียวแบบวาสลินข้นๆแต่แข็งกว่าหน่อย และเนื้อเป็นมันลื่น
นวดหากเก็บไม่ดีมดชอบหม่ำนักแล เพราะว่ามันหอมหวล
ส่วนนวดผสมมีกลิ่นแบบน้ำอบไทยอย่างชัดเจน นวดมีหลายรูปทรงแล้วแต่ท้องถิ่น
แถบอิสานมักเป็นรูปถ้วย ส่วนนวดผสมมักเห็นเป็นก้อนสีเหลี่ยม
ไขผึ้งบริสุทธิ์ มีกลิ่นคล้ายน้ำผึ้งเป็นของแข็ง
ลักษณะอ่อนนิ่ม เป็นมัน เมื่อหลอมเหลวจะกลับมีคุณสมบัติดังเดิมเมื่อเย็นตัว
เมื่อเกิดการเผาไหม้ให้ควันน้อยปราศจากมลพิษ ไขผึ้งอาจมีสารอื่น ๆ เช่น เกสร
โปรโปลิส และน้ำผึ้งเจือปนด้วย ทำให้สีและความหนาแน่นแตกต่างกันไป
คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของไขผึ้ง
- จุดหลอมเหลว 60 - 65
องศาเซลเซียส
- สารที่ระเหยได้ทั้งหมดไม่เกิน 0.5 เปอร์เซ็นต์
- ค่าของก- ค่าสะปอนิฟิเคชั่น 80 -
105
- ค่าไอโอดีนไม่เกิน 10
- ค่าเอสเทอร์ 70 - 95
- สารที่ไม่ละลายในเบนซินไม่เกิน 0.2
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น